นายเกรียงไกร เธียรนุกุล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิดเผยว่า ค่าเงินบาทของไทยปิดตลาดเมื่อ 6 ก.ค. อยู่ที่ระดับ 36.10 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าสุดในรอบกว่า 6 ปี คาดการณ์ว่า ค่าเงินบาทของไทยอาจแข็งค่าที่ระดับ 37 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ได้ตามการไหลออกของเงินทุนต่างชาติหลังเงินสหรัฐและหยวนแข็งค่าขึ้น ดังนั้นธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ต้องติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด เห็นว่า การบริหารจัดการจำเป็นต้องวางสมดุลระหว่างการนำเข้า การส่งออก และอัตราเงินเฟ้อเป็นสำคัญเพื่อดูแลเศรษฐกิจภาพรวม โดยค่าเงินบาทไม่ควรผันผวนเร็วเกินไป และต้องสะท้อนภูมิภาค คำพูดจาก สล็อตเว็บตรง
ทั้งนี้แม้ว่าบาทอ่อนค่าจะส่งผลดีต่อการส่งออกในรูปเงินบาทที่จะปรับสูงขึ้น แต่ขณะเดียวกันต้องมองในแง่ของการนำเข้าสินค้าทุนทั้งวัตถุดิบต่างๆ รวมราคาพลังงานโดยเฉพาะน้ำมันดิบที่ไทยต้องพึ่งพิงการนำเข้ากว่า 90% จะสะท้อนไปยังการผลิตให้มีต้นทุนภาพรวมที่เพิ่มขึ้นได้ ซึ่งจะกระทบต่ออัตราเงินเฟ้อของไทยให้สูงขึ้นตาม ท่ามกลางรายได้ประชาชนปัจจุบันก็ไม่พอรายจ่าย จึงอาจไม่ได้เป็นผลดีต่อเศรษฐกิจโดยรวม เพราะจะยิ่งทำให้แรงซื้อประชาชนถดถอย คำพูดจาก สล็อตออนไลน์
“บาทอ่อนดีในแง่การส่งออกเพราะแม้ว่าภาคส่งออกส่วนหนึ่งที่มีการนำเข้าวัตถุดิบมาแปรรูปแล้วส่งออกไปเป็นเงินดอลลาร์ แปลงกลับเงินบาทก็ไม่กระทบ แต่หากการนำเข้าวัตถุดิบมาผลิตแล้วพึ่งพิงตลาดในประเทศมากน้อยก็อาจต่างกันไปอันนี้จะลำบากต้นทุนจะสูงขึ้นมากและจะถูกส่งผ่านไปยังราคาสินค้าปรับตัวเพิ่ม แต่ในแง่ของภาคเกษตรไทยและการท่องเที่ยวจะส่งผลดี โดยเฉพาะการท่องเที่ยวหากนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามาไทย 7-10 ล้านคน ในปีนี้จะทำให้มีความต้องการเงินบาทเพิ่มขึ้นจุดนี้ก็จะช่วยบรรเทาผลกระทบการอ่อนค่าลงได้บ้าง”
นายธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย กล่าวว่า ค่าเงินบาทของไทยที่อ่อนค่าลง ตั้งแต่ต้นปี 65 เทียบกับปัจจุบันพบว่าอ่อนค่าไปถึง 7.66% หากเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคอย่าง อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ไทยเราอ่อนค่ามากกว่าและเห็นว่าระดับดังกล่าวค่อนข้างจะอ่อนค่าเร็วไป มองว่า ค่าเงินบาทของไทยที่เหมาะสมนั้นอย่าเกิน 34 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ จะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อภาพรวมเศรษฐกิจจากการดู
นายธนวรรธน์ พลวิชัย ประธานที่ปรึกษาศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวว่า คาดว่า ไทย จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีก 3 ครั้งต่อเนื่อง จนถึงอยู่ที่ระดับ 1.25% จากปัจจุบัน 0.5% ส่วนค่าเงินบาทของไทยจากนี้ 1-3 เดือน ยังคงทรงตัวอยู่ที่ 36-36.50 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ และไตรมาส 4 คาดว่า เฉลี่ยอยู่ 35-36 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ